Skip to main content

ภาษา

ทำความรู้จัก ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ

 

ทำความรู้จัก ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ

 

Filippo Grandi, the 11th United Nations High Commissioner for Refugees.

คุณฟิลิปโป กรานดี ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ คนที่11 

การต่อสู้ในเมืองโมซุลทำให้ประชาชนต้องเผชิญกับความโหดร้ายและความหิวโหย

 

การต่อสู้ในเมืองโมซุลทำให้ประชาชนต้องเผชิญกับความโหดร้ายและความหิวโหย

ชาวอิรักหลายคนเล่าให้เราฟังว่า มีกลุ่มติดอาวุธคอยยิงประชาชนที่พยายามหลบหนีจากตัวเมืองโมซุล ในขณะที่คนหลายพันคนติดอยู่ในตัวเมืองและถูกใช้เป็นเกราะกำบัง

 

ชายสองคนอุ้มเด็กที่ได้รับบาดเจ็บไปที่ปลอดภัยผ่านซากปรักหักพังบนถนนในเมืองโมซุล ในวันที่ 24 มิถุนายน

ฮัมมาม อัลอาลิล, อิรัก – อาบู ทาฮาก็ติดอยู่ในตัวเมืองโมซุล หลังจากที่หลานของเขาถูกยิงจากการพยายามหลบหนีออกจากเมืองโมซุล เขาต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มติดอาวุธที่รุนแรงขนาดที่ว่าถ้าเขาถูกพบพร้อมกระเป๋าเขาอาจถูกฆ่าได้

ในช่วงสัปดาห์วันที่ 21 มิถุนายน ชาวอิรักกว่า 20,000 คนลี้ภัยจากโมซุลตะวันตก เช่นเดียวกันกับอาบู ทาฮา คนส่วนใหญ่ต้องหลบหนีการต่อสู้อันรุนแรงบนถนนในตัวเมืองที่ทหารอิรักพยายามตอบโต้กลับเพื่อรักษาเมืองสุดท้ายที่ควบคุมโดยทหารหรือก็คือเมืองโมซุล

พลเรือนที่ติดอยู่ในบริเวณที่ควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธต้องเผชิญกับความเสี่ยงในการเสียชีวิตเมื่อพยายามหลบหนีเนื่องจากมีทหารสกัดยิงแนวหน้าที่มีกลุ่มติดอาวุธเป็นเป้าหมายในขณะเดียวกัน คนที่อยู่ในบริเวณตัวเมืองที่ควบคุมโดยทหารก็ต้องเผชิญกับความอันตรายของโจมตีของกลุ่มติดอาวุธ

 

“ตอนนี้การต่อสู้รุนแรงได้เกิดขึ้นบนท้องถนนในพื้นที่ที่ใกล้บ้านเรือนซึ่งได้เพิ่มความเสี่ยงให้ประชาชนมากขึ้นกว่าเดิม”

 

“ประชาชนถูกบังคับให้เคลื่อนที่ตามกลุ่มติดอาวุธและถูกใช้ให้เป็นเกราะกำบัง” บรูโน่ เกตโด ผู้แทน UNHCR ในอิรักกล่าว “ตอนนี้การต่อสู้รุนแรงได้เกิดขึ้นบนท้องถนนในพื้นที่ที่ใกล้บ้านเรือนซึ่งได้เพิ่มความเสี่ยงให้ประชาชนมากขึ้นกว่าเดิม” เขากล่าว

พลเรือนหลายหมื่นคนยังติดอยู่ในตัวเมืองโมซุล อาหารที่กักตุนไว้กำลังจะหมดลง พวกเขาไม่มีไฟฟ้าและน้ำสะอาดใช้ ทำให้เกิดความเจ็บป่วยและต้องเผชิญสภาวะความอดอยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผู้สูงวัยที่มีสภาพร่างกายอ่อนแอเกินไปที่จะหลบหนีได้

ในศูนย์พักพิงฮัมมาม อัลอาลิล อาบู ทาฮา ได้นำถุงขนาดเล็กออกมาจากกระเป๋า ในถุงนั้นมีน้ำตาลเกือบหนึ่งช้อนอยู่ น้ำตาลนี้อาบูนำไปผสมกับน้ำให้ลูกของเขาดื่มเป็นอาหารในช่วงที่หลบหนี

  • ฮาลานช่วยคาลิดา ลูกสาวที่ได้รับการบาดเจ็บหลบหนีจากโมซุล ประเทศอิรัก วันที่ 25 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

  • แม่และลูกชายเข้าสวมกอดกันหลังถูกแยกจากกันในขณะที่หลบหนีการต่อสู้ในย่านเมืองเก่าของเมืองโมซุล ประเทศอิรัก วันที่ 24 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

  • ชายสองคนช่วยหญิงชราหลบหนีจากเมืองโมซุล ประเทศอิรัก วันที่ 24 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

  • หญิงชาวชาวอิรักทำความสะอาดใบหน้าด้วยน้ำหลังเดินทางถึงพื้นที่ที่ควบคุมโดยรัฐบาลอิรัก ในเมืองโมซุล ประเทศอิรัก วันที่ 23 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

 

“ตอนนี้ลูกๆได้ทานอาหารและนอนหลับอย่างสบายใจ ไม่มีความหวาดกลัวใดๆ” เขากล่าว ในขณะที่ชี้ไปทางซาห์รา ลูกสาววัย 6 ปีที่กลายเป็นคนหูหนวกเนื่องจากระเบิดและกระสุนที่ตกบริเวณใกล้บ้านของพวกเขาในโมซุล

“พวกเด็กๆยังไม่หยุดกินตั้งแต่มาถึงที่นี้เมื่อวาน พวกเขาหิวมาก” เขากล่าว อมีรา ภรรยาของฮาบู ทาฮาวัย 51 ปีกล่าวเสริมว่าพวกเขาป่วยจากการดื่มน้ำที่สกปรกจากบ่อน้ำ 

 

“พวกเด็กๆยังไม่หยุดกินตั้งแต่มาถึงที่นี่เมื่อวาน พวกเขาหิวมาก”

 

จากข้อมูลของรัฐบาล มากกว่า 875,000คนได้หลบหนีออกจากโมซุลตั้งแต่มีการต่อสู้เพื่อยึดครองเมืองซึ่งการต่อสู้เริ่มต้นเมื่อเดือนตุลาคม 2016 โดย เกือบ 700,000 คน หนีจากโมซุลตะวันตก กว่า 679,000 คนยังคงไม่มีที่อยู่ คนจำนวนมากอาศัยอยู่ที่ค่ายพักพิงใกล้เมืองโมซุล

หลังจากบ้านของเธอถูกโจมดีด้วยจรวดในย่านชีฟา เมย์ซา มูฮาเม็ด วัย 47 ปีได้หลบหนีผ่านซากปรักหักพัง

“พวกเราสบายดี” เธอพูด ในขณะที่เธออยู่ที่ศูนย์พักพิงฮัมมาม อัลอาลิลโดยมีญาติพี่น้องนั่งอยู่ใกล้ๆ “พวกเรารู้สึกปลอดภัยแต่เหนื่อย ตอนนี้พวกเราต้องการแค่พักผ่อน”

เมย์ซากล่าวว่า ในเมืองโมซุล กลุ่มติดอาวุธบอกให้ครอบครัวของเธอและคนอื่นๆเจาะรูผนังบ้านของพวกเราเพื่อที่จะให้พวกเขาสามารถเคลื่อนที่ตามถนนในเมืองได้โดยไม่มีใครเห็น

“ถ้าพวกเขามาแล้วไม่เห็นรูบนผนัง พวกเราก็จะโดนทรมานและฆ่า” เธอกล่าวว่าก่อนหน้านี้เธอต้องการหนีแต่ไม่สามารถทำได้ “พวกเรารู้ว่ากลุ่มติดอาวุธได้ฆ่าหลายครอบครัวที่พยายามหนีก่อนหน้าพวกเรา”

 

การต่อสู้ในเมืองโมซุลทำให้ประชาชนต้องเผชิญกับความโหดร้ายและความหิวโหย

 

การต่อสู้ในเมืองโมซุลทำให้ประชาชนต้องเผชิญกับความโหดร้ายและความหิวโหย

ชาวอิรักหลายคนเล่าให้เราฟังว่า มีกลุ่มติดอาวุธคอยยิงประชาชนที่พยายามหลบหนีจากตัวเมืองโมซุล ในขณะที่คนหลายพันคนติดอยู่ในตัวเมืองและถูกใช้เป็นเกราะกำบัง

 

ชายสองคนอุ้มเด็กที่ได้รับบาดเจ็บไปที่ปลอดภัยผ่านซากปรักหักพังบนถนนในเมืองโมซุล ในวันที่ 24 มิถุนายน

ฮัมมาม อัลอาลิล, อิรัก – อาบู ทาฮาก็ติดอยู่ในตัวเมืองโมซุล หลังจากที่หลานของเขาถูกยิงจากการพยายามหลบหนีออกจากเมืองโมซุล เขาต้องอยู่ภายใต้การควบคุมของกลุ่มติดอาวุธที่รุนแรงขนาดที่ว่าถ้าเขาถูกพบพร้อมกระเป๋าเขาอาจถูกฆ่าได้

ในช่วงสัปดาห์วันที่ 21 มิถุนายน ชาวอิรักกว่า 20,000 คนลี้ภัยจากโมซุลตะวันตก เช่นเดียวกันกับอาบู ทาฮา คนส่วนใหญ่ต้องหลบหนีการต่อสู้อันรุนแรงบนถนนในตัวเมืองที่ทหารอิรักพยายามตอบโต้กลับเพื่อรักษาเมืองสุดท้ายที่ควบคุมโดยทหารหรือก็คือเมืองโมซุล

พลเรือนที่ติดอยู่ในบริเวณที่ควบคุมโดยกลุ่มติดอาวุธต้องเผชิญกับความเสี่ยงในการเสียชีวิตเมื่อพยายามหลบหนีเนื่องจากมีทหารสกัดยิงแนวหน้าที่มีกลุ่มติดอาวุธเป็นเป้าหมายในขณะเดียวกัน คนที่อยู่ในบริเวณตัวเมืองที่ควบคุมโดยทหารก็ต้องเผชิญกับความอันตรายของโจมตีของกลุ่มติดอาวุธ

 

“ตอนนี้การต่อสู้รุนแรงได้เกิดขึ้นบนท้องถนนในพื้นที่ที่ใกล้บ้านเรือนซึ่งได้เพิ่มความเสี่ยงให้ประชาชนมากขึ้นกว่าเดิม”

 

“ประชาชนถูกบังคับให้เคลื่อนที่ตามกลุ่มติดอาวุธและถูกใช้ให้เป็นเกราะกำบัง” บรูโน่ เกตโด ผู้แทน UNHCR ในอิรักกล่าว “ตอนนี้การต่อสู้รุนแรงได้เกิดขึ้นบนท้องถนนในพื้นที่ที่ใกล้บ้านเรือนซึ่งได้เพิ่มความเสี่ยงให้ประชาชนมากขึ้นกว่าเดิม” เขากล่าว

พลเรือนหลายหมื่นคนยังติดอยู่ในตัวเมืองโมซุล อาหารที่กักตุนไว้กำลังจะหมดลง พวกเขาไม่มีไฟฟ้าและน้ำสะอาดใช้ ทำให้เกิดความเจ็บป่วยและต้องเผชิญสภาวะความอดอยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผู้สูงวัยที่มีสภาพร่างกายอ่อนแอเกินไปที่จะหลบหนีได้

ในศูนย์พักพิงฮัมมาม อัลอาลิล อาบู ทาฮา ได้นำถุงขนาดเล็กออกมาจากกระเป๋า ในถุงนั้นมีน้ำตาลเกือบหนึ่งช้อนอยู่ น้ำตาลนี้อาบูนำไปผสมกับน้ำให้ลูกของเขาดื่มเป็นอาหารในช่วงที่หลบหนี

  • ฮาลานช่วยคาลิดา ลูกสาวที่ได้รับการบาดเจ็บหลบหนีจากโมซุล ประเทศอิรัก ในวันที่ 25 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

  • แม่และลูกชายเข้าสวมกอดกันหลังถูกแยกจากกันในขณะที่หลบหนีการต่อสู้ในย่านเมืองเก่าของดมืองโมซุล ประเทศอิรัก ในวันที่ 24 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

  • ชายสองคนช่วยหญิงชราหลบหนีจากเมืองโมซุล ประเทศอิรัก ในวันที่ 24 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

  • หญิงชาวชาวอิรักทำความสะอาดใบหน้าด้วยน้ำหลังเดินทางถึงพื้นที่ที่ควบคุมโดยรัฐบาลอิรัก ในเมืองโมซุล ประเทศอิรัก ในวันที่ 23 มิถุนายน © UNHCR/Cengiz Yar

 

“ตอนนี้ลูกๆได้ทานอาหารและนอนหลับอย่างสบายใจ ไม่มีความหวาดกลัวใดๆ” เขากล่าว ในขณะที่ชี้ไปทางซาห์รา ลูกสาววัย 6 ปีที่กลายเป็นคนหูหนวกเนื่องจากระเบิดและกระสุนที่ตกบริเวณใกล้บ้านของพวกเขาในโมซุล

“พวกเด็กๆยังไม่หยุดกินตั้งแต่มาถึงที่นี้เมื่อวาน พวกเขาหิวมาก” เขากล่าว อมีรา ภรรยาของฮาบู ทาฮาวัย 51 ปีกล่าวเสริมว่าพวกเขาป่วยจากการดื่มน้ำที่สกปรกจากบ่อน้ำ 

 

“พวกเด็กๆยังไม่หยุดกินตั้งแต่มาถึงที่นี่เมื่อวาน พวกเขาหิวมาก”

 

จากข้อมูลของรัฐบาล มากกว่า 875,000คนได้หลบหนีออกจากโมซุลตั้งแต่มีการต่อสู้เพื่อยึดครองเมืองซึ่งการต่อสู้เริ่มต้นเมื่อเดือนตุลาคม 2016 โดย เกือบ 700,000 คน หนีจากโมซุลตะวันตก กว่า 679,000 คนยังคงไม่มีที่อยู่ คนจำนวนมากอาศัยอยู่ที่ค่ายพักพิงใกล้เมืองโมซุล

หลังจากบ้านของเธอถูกโจมดีด้วยจรวดในย่านชีฟา เมย์ซา มูฮาเม็ด วัย 47 ปีได้หลบหนีผ่านซากปรักหักพัง

“พวกเราสบายดี” เธอพูด ในขณะที่เธออยู่ที่ศูนย์พักพิงฮัมมาม อัลอาลิลโดยมีญาติพี่น้องนั่งอยู่ใกล้ๆ “พวกเรารู้สึกปลอดภัยแต่เหนื่อย ตอนนี้พวกเราต้องการแค่พักผ่อน”

เมย์ซากล่าวว่า ในเมืองโมซุล กลุ่มติดอาวุธบอกให้ครอบครัวของเธอและคนอื่นๆเจาะรูผนังบ้านของพวกเราเพื่อที่จะให้พวกเขาสามารถเคลื่อนที่ตามถนนในเมืองได้โดยไม่มีใครเห็น

“ถ้าพวกเขามาแล้วไม่เห็นรูบนผนัง พวกเราก็จะโดนทรมานและฆ่า” เธอกล่าวว่าก่อนหน้านี้เธอต้องการหนีแต่ไม่สามารถทำได้ “พวกเรารู้ว่ากลุ่มติดอาวุธได้ฆ่าหลายครอบครัวที่พยายามหนีก่อนหน้าพวกเรา”

“ตอนนี้ลูกๆได้ทานอาหารและนอนหลับอย่างสบายใจ ไม่มีความหวาดกลัวใดๆ” เขากล่าว ในขณะที่ชี้ไปทางซาห์รา ลูกสาววัย 6 ปีที่กลายเป็นคนหูหนวกเนื่องจากระเบิดและกระสุนที่ตกบริเวณใกล้บ้านของพวกเขาในโมซุล

“พวกเด็กๆยังไม่หยุดกินตั้งแต่มาถึงที่นี้เมื่อวาน พวกเขาหิวมาก” เขากล่าว อมีรา ภรรยาของฮาบู ทาฮาวัย 51 ปีกล่าวเสริมว่าพวกเขาป่วยจากการดื่มน้ำที่สกปรกจากบ่อน้ำ 

 

“พวกเด็กๆยังไม่หยุดกินตั้งแต่มาถึงที่นี่เมื่อวาน พวกเขาหิวมาก”

 

จากข้อมูลของรัฐบาล มากกว่า 875,000คนได้หลบหนีออกจากโมซุลตั้งแต่มีการต่อสู้เพื่อยึดครองเมืองซึ่งการต่อสู้เริ่มต้นเมื่อเดือนตุลาคม 2016 โดย เกือบ 700,000 คน หนีจากโมซุลตะวันตก กว่า 679,000 คนยังคงไม่มีที่อยู่ คนจำนวนมากอาศัยอยู่ที่ค่ายพักพิงใกล้เมืองโมซุล

หลังจากบ้านของเธอถูกโจมดีด้วยจรวดในย่านชีฟา เมย์ซา มูฮาเม็ด วัย 47 ปีได้หลบหนีผ่านซากปรักหักพัง

“พวกเราสบายดี” เธอพูด ในขณะที่เธออยู่ที่ศูนย์พักพิงฮัมมาม อัลอาลิลโดยมีญาติพี่น้องนั่งอยู่ใกล้ๆ “พวกเรารู้สึกปลอดภัยแต่เหนื่อย ตอนนี้พวกเราต้องการแค่พักผ่อน”

เมย์ซากล่าวว่า ในเมืองโมซุล กลุ่มติดอาวุธบอกให้ครอบครัวของเธอและคนอื่นๆเจาะรูผนังบ้านของพวกเราเพื่อที่จะให้พวกเขาสามารถเคลื่อนที่ตามถนนในเมืองได้โดยไม่มีใครเห็น

“ถ้าพวกเขามาแล้วไม่เห็นรูบนผนัง พวกเราก็จะโดนทรมานและฆ่า” เธอกล่าวว่าก่อนหน้านี้เธอต้องการหนีแต่ไม่สามารถทำได้ “พวกเรารู้ว่ากลุ่มติดอาวุธได้ฆ่าหลายครอบครัวที่พยายามหนีก่อนหน้าพวกเรา”

ผู้แทนพิเศษของข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติเรียกร้องการสนับสนุนเด็กผู้ลี้ภัยในประเทศเคนย่า

 

ผู้แทนพิเศษของข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติเรียกร้องการสนับสนุนเด็กผู้ลี้ภัยในประเทศเคนย่า

แองเจลีน่า โจลีเรียกร้องให้มีการสะท้อน “ความเจ็บปวดและความทุกข์ยาก” ของเด็กผู้ลี้ภัยในช่วงที่เธอได้เข้าเยี่ยมศูนย์พักพิงเด็กและเยาวชนหญิงในไนโรบีเนื่องในวันผู้ลี้ภัยโลก

 

แองเจลีน่า โจลีเรียกร้องให้มีการสะท้อน “ความเจ็บปวดและความทุกข์ยาก” ของเด็กผู้ลี้ภัยในช่วงที่เธอได้เข้าเยี่ยมศูนย์พักพิงเด็กและเยาวชนหญิงในไนโรบีเนื่องในวันผู้ลี้ภัยโลก

 

(รูป) ผู้แทนพิเศษของข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติแองเจลีน่า โจลีพบปะเด็กและพี่น้องของผู้ลี้ภัยหญิงในไนโรบี

 

รายงานการสำรวจจำนวนผู้ที่ต้องถูกบังคับให้พลัดถิ่นฐานทั่วโลกประจำปี 2559

 

รายงานการสำรวจจำนวนผู้ที่ต้องถูกบังคับให้พลัดถิ่นฐานทั่วโลกประจำปี 2559

 

สงคราม ความรุนแรง การประหัตประหาร ส่งผลให้ตัวเลขการพลัดถิ่นสูงสุดอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน

 

• ทุก 3 วินาที จะมี 1 คนที่ต้องลี้ภัยจากสงครามและความรุนแรง 
• กว่า 65.6 ล้านคนถูกบังคับให้ลี้ภัย สูงสุดอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน จำนวนทั้งหมดเกือบเท่าจำนวนประชากรประเทศไทย และสหราชอาณาจักร
• ครึ่งหนึ่งของผู้ลี้ภัยทั่วโลกคือเด็ก 
• ในวันผู้ลี้ภัยโลกวันนี้ ร่วมลงชื่อ #เคียงข้างผู้ลี้ภัย ได้ที่ www.unhcr.or.th/supportrefugees 

 

UNHCR และ ทูตสันถวไมตรี ไปรยา ลุนด์เบิร์ก จัดกาล่าดินเนอร์ เพื่อรำลึกวันผู้ลี้ภัยโลก 2560

 

UNHCR และ ทูตสันถวไมตรี ไปรยา ลุนด์เบิร์ก จัดกาล่าดินเนอร์ เพื่อรำลึกวันผู้ลี้ภัยโลก 2560

 

กรุงเทพฯ –  สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR)  ร่วมรำลึก วันผู้ลี้ภัยโลกปีนี้ จัดงาน  กาล่า ดินเนอร์เป็นครั้งแรก โดยมี ทูตสันถวไมตรี UNHCR ไปรยา ลุนด์เบิร์ก ให้เกียรติเป็นเจ้าภาพในการจัดงาน วันศุกร์ที่ 16 มิถุนายน 2560 ณ ห้องอาหาร ศาลาริมน้ำ โรงแรมแมนดารินโอเรียนเต็ล กรุงเทพฯ

UNHCRรำลึกวันผู้ลี้ภัยโลกจัดนิทรรศการ “รักไร้พรมแดน” ร่วมกับ ไปรยา ลุนด์เบิร์ก และ คิด เบญจรงคกุล

 

UNHCRรำลึกวันผู้ลี้ภัยโลกจัดนิทรรศการ “รักไร้พรมแดน” ร่วมกับ ไปรยา ลุนด์เบิร์ก และ คิด เบญจรงคกุล

 

กรุงเทพฯ 14 มิถุนายน 2560– เนื่องในโอกาส วันผู้ลี้ภัยโลก 20 มิถุนายน 2560 สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) จัดนิทรรศการแสดงภาพถ่าย “รักไร้พรมแดน” โดยความร่วมมือครั้งแรก ของ ไปรยา ลุนด์เบิร์ก ทูตสันถวไมตรี UNHCR และ คิด เบญจรงคกุล ผู้สนับสนุนที่มีชื่อเสียงของ UNHCR และช่างภาพแฟชั่นแถวหน้าของเมืองไทย ร่วมนำเสนอมุมมองแห่งความรักผ่าน 30 ภาพถ่ายจากสองมุมโลก ที่ไม่เคยเปิดเผยที่ไหนมาก่อน

UNHCR เข้าขอบคุณหน่วยงานรัฐบาลไทยสำหรับการสนับสนุนและการทำงานเพื่อช่วยเหลือผู้ลี้ภัยในประเทศไทย

 

UNHCR เข้าขอบคุณหน่วยงานรัฐบาลไทยสำหรับการสนับสนุนและการทำงานเพื่อช่วยเหลือผู้ลี้ภัยในประเทศไทย

 

กรุงเทพฯ ประเทศไทย 8 พฤษภาคม (UNHCR) สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติเข้าพบรัฐบาลไทยเพื่อขอบคุณสำหรับความช่วยเหลือที่ให้ความคุ้มครองผู้ลี้ภัยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา โดยคุณรูเวนดรินี่ เมนิคดิเวล่า ผู้แทนข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ รวมทั้งคุณไปรยา ลุนด์เบิร์ก ทูตสันถวไมตรี UNHCR ได้เข้าพบกับหน่วยงานรัฐบาลไทยในวันนี้  โดยได้เข้าพบคุณดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และพล.อ.ทวีป เนตรนิยม เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ รวมทั้งคุณสรมงคล มงคละสิริ รองผู้อำนวยการ ศูนย์ดำเนินการเพื่อผู้อพยพ

  • คุณรูเวนดรินี่ เมนิคดิเวล่า ผู้แทนสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทย และไปรยา ลุนด์เบิร์กเข้าพบคุณดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

  • คุณรูเวนดรินี่ เมนิคดิเวล่า ผู้แทนสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทย และไปรยา ลุนด์เบิร์กเข้าพบคุณดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และคุณกาญจนา ภัทรโชคอธิบดี กรมองค์การระหว่างประเทศ

  • ไปรยา ลุนด์เบิร์กเข้าพบคุณดอน ปรมัตถ์วินัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และคุณกาญจนา ภัทรโชคอธิบดี กรมองค์การระหว่างประเทศ

  • ไปรยา ลุนด์เบิร์กเข้าพบทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์ดำเนินการเพื่อผู้อพยพ

  • ไปรยา ลุนด์เบิร์กเข้าพบนายสรมงคล มงคละสิริ รองผู้อำนวยการ ศูนย์ดำเนินการเพื่อผู้อพยพ

การช่วยเหลือเด็กขาดสารอาหาร-ระบบการศึกษา ผู้ลี้ภัยในยูกันดา

 

การช่วยเหลือเด็กขาดสารอาหาร-ระบบการศึกษา ผู้ลี้ภัยในยูกันดา

 

ภาวะขาดสารอาหารและความอดอยากที่เกิดขึ้นกับผู้ลี้ภัยชาวซูดานใต้ กลายเป็นปัญหาเร่งด่วนที่องค์การสหประชาชาติต้องเร่งให้การช่วยเหลือ โดยเฉพาะการเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้ลี้ภัยยิ่งทำให้ขาดแคลนอาหารและน้ำ รวมถึงการให้การศึกษาที่กำลังจะเป็นปัญหาตามมาเพราะในจำนวนผู้ลี้ภัยที่เป็นเด็กกว่า 60 เปอร์เซ็นต์ หากสงครามยังไม่ยุติเด็กเหล่านี้ก็จะหายไปจากระบบในอนาคต วันนี้คุณฐปณีย์ เอียดศรีไชย จะพาไปดูการช่วยชีวิตเด็กที่ขาดสารอาหารและระบบการศึกษาเพื่อผู้ลี้ภัยในประเทศยูกันดา

ค่ายผู้ลี้ภัยที่ใหญที่สุดในโลกที่ยูกันดากับการช่วยเหลือวิกฤติผู้ลี้ภัยซูดานใต้จากสงครามและความอดอยาก

 

ค่ายผู้ลี้ภัยที่ใหญที่สุดในโลกที่ยูกันดากับการช่วยเหลือวิกฤติผู้ลี้ภัยซูดานใต้จากสงครามและความอดอยาก

 

การเติบโตอย่างรวดเร็วของผู้ลี้ภัยชาวซูดานใต้จนกลายเป็นวิกฤติที่ใหญ่ที่สุดในแอฟริกา ในเวลาเพียง 10 เดือนมีการลี้ภัยไปประเทศเพื่อนบ้านกว่า 1 ล้าน 6 แสนคน โดยกว่าครึ่งหนึ่งอพยพมายังประเทศยูกันดา จนเกิดศูนย์อพยพที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่ยูกันดาซึ่งเป็นประเทศที่ยากจนที่สุด กลับต้อนรับและให้การช่วยเหลือผู้ลี้ภัยเหล่านี้ ติดตามนโยบายของรัฐบาลยูกันดากับการดูแลผู้ลี้ภัยจากวิกฤติสงครามและความอดยาก